สาขาการประเมินผลเเละวิจัยทางการศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัย
- 1. ความรู้เกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัย
- 2. ความหมายของการวิจัย กระบวนการแสวงหาความรู้ใหม่ หรือกระบวนการ ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งที่มีคุณ ค่าโดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ •สังเกต เห็นปัญหา นิยามปัญหา •กาหนดสมมุติฐาน •ตรวจสอบสมมุติฐาน (เก็บข้อมูล) •วิเคราะห์ข้อมูล •สรุปผล
- 3. ประเภทของการวิจัย
- 4. • แบ่งตามวิธีการวิจัย – การวิจัยแบบสารวจ (SURVEY R.) – การวิจัยแบบบรรยาย (DESCRIPTIVE R.) – การวิจัยแบบทดลอง (EXPERIMENTAL R.) – การวิจัยแบบสหสัมพันธ์(CORRELATIONAl R.) – การวิจัยแบบประเมิน (EVALUATIVE R.) – การวิจัยและพัฒนา (R. & DEVELOPMENT) – การวิจัยรายกรณี(CASE STUDY R.) – การวิจัยเอกสาร (DOCUMENTARY R.) – การวิจัยประวัติศาสตร์(HISTORICAL R.)
- 5. • แบ่งตามจุดมุ่งหมาย – การวิจัยบริสุทธ์ิ(PURE RESEARCH) – การวิจัยประยุกต์(APPLIED RESEARCH) • แบ่งตามลักษณะข้อมูล – การวิจัยเชิงปริมาณ (QUANTITATIVE R.) – การวิจัยเชิงคุณภาพ (QUALITATIVE R.) • แบ่งตามประเภทข้อมูล – การวิจัยเอกสาร (DOCUMENTARY R.) – การวิจัยเชิงประจักษ์(EMPIRICAL R.)
- 6. ข้นัตอนการวิจัย
- 7. วงจรการวิจัย RESEARCH CYCLE) ทฤษฎี การปฏิบัติ สมมุติฐานวิจัย การสรุปอ้างอิง ปัญหาวิจัย การสุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูล นิยาม, เครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล
- 8. การศึกษา และรายงาน เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
- 9. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย • เอกสารอ้างอิงทั่วไป – ดรรชนีวารสาร รายการเอกสาร – บทคัดย่องานวิจัย บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ • เอกสารปฐมภูมิ – บทความวิชาการ – รายงานวิจัย เอกสารวิจัย วิทยานิพนธ์
- 10. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย • เอกสารทุติยภูมิ – หนังสือ ตารา หนังสือพิมพ์ – พจนานุกรม สารานุกรม – รายงานปริทัศน์งานวิจัย คู่มือ รายงานประจาปี
- 11. การจัดทารายงานเอกสาร ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย 1. กาหนดวัตถุประสงค์ 2. เสาะค้น คัดเลือกเอกสาร 3. ปริทัศน์(REVIEW) เอกสาร 4. จดบันทึกสารสนเทศ 5. สังเคราะห์สารสนเทศ 6. เขียนรายงาน
- 12. การจัดประเภทหรือหมวดหมู่ของสาระที่ จะสังเคราะห์ • สาระส่วนใหญ่ประกอบด้วย – นิยามตัวแปร ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรหลักของการวิจัย หรือ ผลการวิจัยก่อนหน้านั้น • ตรวจสอบคุณภาพของเอกสาร • อ่าน วิเคราะห์ และจับประเด็น แล้วสรุปย่อลงในแบบบันทึก • จัดเตรียมข้อมูลเพื่อทารายการอ้างอิงภายหลังด้วย
- 13. ข้อบกพร่องเกี่ยวกับการสืบค้น • ความทันสมัยของเอกสาร/แหล่งค้น • ประเภทของเอกสารที่อ้างอิง • ข้อบกพร่องเกี่ยวกับวิธีการอ้างอิง – ประเภทของแหล่งค้น/แหล่งอ้างอิง – การอ้างอิงโดยไม่ได้เรียบเรียงภาษาใหม่ (paraphrase) – การอ้างอิงไม่ตรงตามต้นฉบับ – การอ้างอิงแบบตัดต่อความคิด
- 14. การกาหนด กรอบความคิดของการวิจัย Conceptual Framework
- 15. การวางกรอบความคิด (conceptualization) • กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น จริงในธรรมชาติโดยอาศัยทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • ผลที่ได้จากกระบวนการสร้างมโนทัศน์คือ กรอบ ความคิดเชิงทฤษฎี(theoretical framework) • เป็นแบบจา ลองแสดงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องตามทฤษฎี
- 16. กรอบความคิดของการวิจัย (conceptual framework) • แสดงโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรแต่ละตัว ทั้งหมดที่อยู่ในการวิจัย ซึ่งเป็นไปตามที่ทฤษฎีกา หนดไว้ • นิยมเขียนในรูปของแผนภาพ (diagram) • หากคัดเลือกตัวแปรบางตัวมาศึกษา และปรับลดตัวแปรที่ใช้ ในการวิจัยใหม่จะเรียกว่า กรอบความคิดของการวิจัย โดย ต้องอธิบายถึงความจา เป็นในการคัดเลือกหรือปรับลดตัว แปรจากกรอบเดิมให้สมเหตุสมผล
- 17. กรอบความคิดในการวิจัย (conceptual framework) • แบบจาลองที่นักวิจัยสร้างขึ้นโดยใช้ทฤษฎีและ ผลการวิจัยในอดีตเพื่อแทนความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ ระหว่างปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ และจะนาไปตรวจสอบว่ามีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่เพียงใด
- 18. การสร้างกรอบความคิดของการวิจัย • การกาหนดแหล่งข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย • เอกสารที่เกี่ยวข้องมีหลายประเภท – ตา รา บทความวิชาการ บทความวิจัย รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ • แหล่งเอกสารอาจจะอยู่ในรูปแบบที่มีการจัดพิมพ์เป็นหนังสือ หรือในรูปแบบของการเผยแพร่ในสื่ออิเลคทรอนิกส์ • นักวิจัยต้องรู้จักใช้คา ค้นที่สาคัญ (key words) ในการสืบค้น • มีการตรวจสอบคุณภาพความน่าเชื่อถือของแหล่งค้น
- 19. การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาเอกสาร • นาข้อมูลที่ได้บันทึกมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ • กาหนดกรอบความคิดของการวิจัย โดยกาหนด โครงสร้างความสัมพันธ์ของตัวแปรตามประเด็นวิจัยที่ กาหนด • ส่วนใหญ่เพื่อให้เข้าใจง่าย จะนาเสนอเป็นแผนภาพ
- 20. กาหนดคาอธิบายบรรยาย กรอบความคิดของการวิจัย • อธิบายกรอบความคิดของการวิจัยว่ามีที่มาอย่างไร • ไม่ควรแสดงแต่แผนภาพเฉย ๆ • เพื่อให้กรอบความคิดมีน้า หนัก น่าเชื่อถือ ทา ให้ผู้อ่านมี ความชัดเจนในการนา ตัวแปรบางตัวมาศึกษา
- 21. ตัวอย่างกรอบความคิดของการวิจัย
- 22. การจับใจความสาคัญ การเขา้ใจความหมาย การใหร้ายละเอยีดสาคญั การสรุปความและอนุมาน ความสามารถในการอ่าน การลาดบัความสาคญั ไวยากรณ์ เนื้อหา กลไกภาษา ความสามารถในการคดิ วเิคราะห์ ความสามารถในการ เขยีนสอื่ความ การวเิคราะหเ์นื้อหา การวเิคราะหค์วามสมัพนัธ์ การวเิคราะหห์ลกัการสาคญั
- 23. บริบทของสถานศึกษา ขนาด พืน้ที่จังหวัด รูปแบบการจดัการเรยีนรู้ ปัจจัย / เงื่อนไข ผลการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบ บทเรียนที่เรียนรู้ แนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ บนฐานแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ในสถานศึกษาขนั้พื้นฐาน แนวคิดและหลักการ วัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมาย ลักษณะ ขัน้ตอนและวิธีดาเนินการ การวัดและประเมินผล ผลที่เกิดขึ้นกับครู กระบวนการจัดการเรียนรู้ ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน พฤติกรรมการเรียนรู้ คุณลักษณะของนักเรียน ผลที่เกิดขึ้นกับสถานศึกษา ความสัมพันธ์กับชุมชน การเรียนรู้ผ่านชุมชน ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ปัจจัยเกื้อหนุน
- 24. วิธีการศึกษา การวิเคราะห์เอกสาร จากนักวิจัยในพืน้ที่ การจัดสนทนากลุ่ม การตรวจเยี่ยมพนื้ที่ (การสังเกต) ผลที่เกิดขึ้น (การเปลี่ยนแปลง) ผลที่เกิดกับครู -การจัดการเรียนการสอน -การวิจัยปฏิบัติการ -พฤติกรรมครู ผลที่เกิดกับนักเรียน -พฤติกรรมการเรียนรู้ -คุณลักษณะของนักเรียน ผลที่เกิดกับโรงเรียน -ความสัมพันธ์ชุมชน บริบทของโรงเรียน สังกัด ขนาด จังหวัด ปัจจัย/เงื่อนไข กระบวนการปฏิรูป การเรียนรู้ (ยุทธวิธีการบริหาร) -การพัฒนาบุคลากร -การบริหารจัดการ -การจัดการเรียนรู้ -การวัดและประเมินผล -การประกันคุณภาพ -การวิจัยปฏิบัติการ -ความร่วมมือกับชุมชน ผลกระทบ บทเรียนที่เรียนรู้
- 25. รายงานสภาพการเรยีนรูท้เี่กดิขนึ้ใน ระดบัชนั้เรยีน และโรงเรยีน ปัจจยัที่ สนบัสนุน/อุปสรรคในการปฏริูปการ เรยีนรู้จานวน 80 กรณีศกึษา กระบวนการปฏิรูปการเรียนรู้ (ยุทธวิธีการบริหาร) ผลที่เกิดกับครู นักเรียน โรงเรียน ปัจจัยเงื่อนไขความสาเร็จ ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอเชิงนโยบาย 1. กาหนดเกณฑเ์ลอืกกรณีศกึษา คดัเลอืกโรงเรยีนที่ เป็นกรณีศกึษา จาก 5 จงัหวดัๆ ละ 16 โรงเรยีน รวม 80 โรงเรยีน 2. ศกึษาสภาพการดา เนนิงานการปฏริูปการเรยีนรูข้อง โรงเรยีนดว้ยวธิีการสมัภาษณ์สงัเกตการณ์ในชนั้ เรยีน และโรงเรยีน 3. วเิคราะหข์อ้มูลและจดัทา รายงานกรณีศกึษา 4. การวเิคราะหเ์อกสารของนกัวจิยัในพนื้ที่ 5. การจดัสนทนากลุ่ม 6. การตรวจเยยี่มพนื้ท(ี่การสงัเกต) 7. การสงัเคราะหผ์ลการวจิยัจากขอ้มูลทุกแหล่ง
- 26. ตัวแปรในการวิจัย
- 27. ประเภทของตัวแปร (Variable) Independent and Dependent Variables Active and Attribute Variables Continuous and Categorical Variables Quantitative and Qualitative Variables Extraneous Variables Intervening Variable (unobservable Variable) การจาแนกตามมาตรวัด (scale of measurement)
- 28. วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ IV DV Active V. หรือ Manipulated V.
- 29. ระดับการ ศึกษา รายได้ IV DV Attribute Variable
- 30. วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ IV DV Categorical V. Continuous V.
- 31. วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ IV DV Qualitative V. Quantitative V.
- 32. IV DV วิธีสอน ผลสัมฤทธ์ิ สติปัญญา Extraneous V.
- 33. ประเภทตัวแปร แยกตามมาตราของการวัด
- 34. มาตรานามบัญญัติ(nominal scale) มาตราจัดอันดับ (ordinal scale) มาตราอันตรภาค (interval scale) มาตราอัตราส่วน (ratio scale)
- 35. เพศ ชาย หญิง อันดับความสาคัญ 1, 2, 3,... ทักษะความสามารถ 0,10, 20, .....,100 น้าหนัก 50, 60, 70, ...
- 36. การกาหนดนิยามปฏิบัติการ ของตัวแปรในการวิจัย
- 37. Observable data Empirical reality O.D. O.D. O.D. C1 C2 C3 C1 C2 C3 C4 C5 C6
- 38. ภาวะผู้นาของนักศึกษาวิชาทหาร หมายถึง ......................................... ทักษะการจัดการความรู้ หมายถึง ........................................... ความสนใจใฝ่รู้ หมายถึง ...........................................
- 39. วิธีดาเนินการวิจัย
- 40. การออกแบบการวิจัย 1. ประเภทของการวิจัย 2. การเก็บข้อมูล 3. การวิเคราะห์ข้อมูล
- 41. แบบการวิจัย (Research Designs) - การวิจัยเชิงบรรยาย/สารวจ - การวิจัยเชิงทดลอง - การวิจัยเอกสาร
- 42. การวิจัยเชิงบรรยาย/สารวจ - มุ่งเน้นอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดข้นึ ตามธรรมชาติ เน้นการสรุปอ้างอิง - ไม่มีตัวแปรจัดกระทา - นิยมใช้การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม - ใช้วิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ
- 43. การวิจัยเชิงทดลอง - การวิจัยที่มุ่งตอบคา ถามเชิงสาเหตุ - มีตัวแปรจัดกระทา - มีการควบคุมตัวแปรภายนอกที่ส่งผล ต่อตัวแปรตาม - เน้นความตรงภายใน (internal validity)
- 44. การวิจัยเชิงทดลอง O X O O O
- 45. การวิจัยเชิงทดลอง R O X O R O O
- 46. การออกแบบการเก็บข้อมูล
- 47. ข้อมูล = ข้อเท็จจริง, สารสนเทศ, ความคิด, ความรู้, ความรู้สึก, การแสดงออก, การกระทา หรือหลักฐาน ที่ช่วยให้นักวิจัยตอบคาถามวิจัยได้ ประชากร = คน, สิ่งมีชีวิต, สิ่งของหรือเอกสาร ซึ่งมี ข้อมูลที่นักวิจัยต้องการ กลุ่มตัวอย่าง = เซ็ทย่อยของประชากรที่นักวิจัยเลือก มาเป็นตัวแทนของประชากร
- 48. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง • การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม – การสุ่มแบบง่าย (simple random sampling) – การสุ่มแบบแบ่งชั้น (stratified random sampling) – การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (cluster random sampling) – การสุ่มแบบมีระบบ (systematic random sampling) – การสุ่มหลายขั้นตอน (multi-stage random sampling)
- 49. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง • การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบไม่ทราบค่าความ น่าจะเป็น – การเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) – การเลือกแบบโควต้า (quota sampling) – การเลือกแบบสโนว์บอลล์(snowball sampling)
- 50. ประเภทของข้อมูล • ข้อมูลเชิงปริมาณ = ตัวแปร (VARIABLES) คือ สัญลักษณ์ทนีั่กวิจัยกา หนดให้มีค่าตั้งแต่สองค่าขึ้นไป เพื่อแทนคุณสมบัติของสิ่งที่วัด นิยามตัวแปรตามทฤษฎี นิยามตัวแปรเชิงปฎิบัติการ • ข้อมูลเชิงคุณภาพ = ข้อความที่บรรยายถึง คุณลักษณะที่ นักวิจัยต้องการศึกษา
- 51. วิธีการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร : การสืบค้น การ ประเมิน การอ่าน การบันทึก การสังเกต : การนิยาม การเตรียมการ การฝึกหัด การนัดหมาย การปฏิบัติการสังเกต การสัมภาษณ์ : การเตรียมแบบสัมภาษณ์ การ ทดลองใช้ การนัดหมาย การปฏิบัติการ
- 52. วิธีการรวบรวมข้อมูล การใช้แบบสอบถาม : การสร้างและทดลองใช้ เครื่องมือ การส่ง การติดตาม การใช้แบบทดสอบ มาตรวัด
- 53. คุณภาพของเครื่องมือ ความเที่ยง (reliability) - internal consistency - test-retest reliability - inter-observer reliability
- 54. ความตรง (validity) - content validity - construct validity - criterion-related validity
- 55. การวิเคราะห์ข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล (data edition) การจัดเตรียมข้อมูล (data preparation) การวิเคราะห์ข้อมูล (data analysis) การแปลความหมาย (interpretation) การอภิปรายผล (discussion)
- 56. วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ • การแจกแจงความถี่, ร้อยละ • การเสนอแผนภูมิ และกราฟ • การวัดแนวโน้มสู่ส่วนกลาง (เช่น ค่าเฉลยี่) • การวัดการกระจาย, ความเบ้, ความโด่ง • การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ • การวิเคราะห์ความแตกต่าง • การวิเคราะห์ความแปรปรวน • การวิเคราะห์การถดถอย • การวิเคราะห์ด้วยสถิติขั้นสูง
- 57. การพัฒนาโครงการวิจัย
- 58. ส่วนเนื้อหา (บทนา) ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย นิยามคาศัพท์ ข้อตกลงเบือ้งต้น ประโยชน์ของการวิจัย เอกสารที่เก่ยีวข้องกับการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย
- 59. ส่วนท้าย บรรณานุกรม ภาคผนวก ปฏิทินปฏิบัติงาน งบประมาณ
- 60. การกาหนดปัญหาวิจัย
- 61. หัวข้อเรื่องวิจัย (RESEARCH TITLE) คาถามวิจัย (RESEARCH QUESTION)
- 62. หลักการกาหนดคาถามวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย • คาถามวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย ต้อง สอดคล้องกัน • ใช้ภาษาสั้น กะทัดรัด แต่ชัดเจน • คาถามหรือวัตถุประสงค์ย่อยต้องทาการวิจัย ได้ และผลการวิจัยที่ได้รวมกันเป็นผลการวิจัยของ คาถามหรือวัตถุประสงค์หลัก
- 63. หัวข้อเรื่องวิจัยที่ดี • แสดงความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล • สามารถวิจัยได้ตามความพร้อมของผู้วิจัย • เป็นเรื่องสาคัญ เป็นประโยชน์ต่อสังคม • สร้างความรู้ทางวิชาการ • ไม่ขัดกับจรรยานักวิจัย • เป็นเรื่องที่ยังมีข้อโต้แย้ง สรุปยังไม่ได้ • มีนวภาพ
- 64. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการทางาน ของผู้บริหารสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา - คุณภาพการทา งานของผู้บริหารเป็นอย่างไร? - ผู้บริหารที่มีวุฒิ อายุ และเพศต่างกัน มีระดับ คุณภาพการ ทางานแตกต่างกันอย่างไรฦ - ปัจจัยด้านสถานศึกษา เพื่อนร่วมงาน และ ภาวะผู้นาของ ผู้บริหารมีผลต่อคุณภาพการ ทา งานของผู้บริหาร อย่างไร?
- 65. การกาหนดวัตถุประสงค์การวิจัย
- 66. วัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อสารวจ (SURVEY) • เพื่อบรรยาย (DESCRIBE) • เพื่ออธิบาย (EXPLAIN) – เพื่อศึกษาเปรียบเทียบ (COMPARE) – เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ – เพื่อทานาย (PREDICT) – เพื่อทาการทดลอง (EXPERIMENT) • เพื่อสังเคราะห์(SYNTHESIZE) • เพื่อประเมิน (EVALUATE) • เพื่อพัฒนา (DEVELOP)
- 67. • การกา หนดกรอบความคิดของการวิจัย • การกา หนดขอบเขตของการวิจัย • การกา หนดข้อตกลงเบื้องต้นของการวิจัย • การกา หนดข้อจา กัดของการวิจัย
- 68. ขอบเขตของการวิจัย • สาระที่นักวิจัยเสนอ รายงานให้ผู้อ่านทราบว่าการวิจัย ครอบคลุมประชากรกลุ่มใด • ตัวแปรครบถ้วนตามกรอบความคิดเชิงทฤษฎีหรือไม่ • การวัดตัวแปรแต่ละตัวครบถ้วนตามนิยามเชิงทฤษฎีของตัว แปรเพียงใด • การรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสมบูรณ์ตามที่ควรจะเป็น เพียงใด • การวิเคราะห์ข้อมูล ตอบคา ถามวิจัยลึกซึ้งขนาดไหน
- 69. วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ IV DV Active V. หรือ Manipulated V.
- 70. ระดับการ ศึกษา รายได้ IV DV Attribute Variable
- 71. วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ IV DV Categorical V. Continuous V.
- 72. วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ IV DV Qualitative V. Quantitative V.
- 73. IV DV วิธีสอน ผลสัมฤทธิ์ สติปัญญา Extraneous V.
- 74. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียน ปัจจัย ตัวแปร ครู คุณภาพการสอน วิธีสอน นักเรียน ความตงั้ใจเรียน ทัศนคติต่อการ เรียน ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ การอบรมเลี้ยงดู โรงเรียน สภาพแวดล้อม ลักษณะการบริหาร
- 75. ครู นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ ครอบครัว โรงเรียน
- 76. ครู นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ ครอบครัว โรงเรียน
- 77. นักเรียน ผลสัมฤทธิ์ ครอบครัว
- 78. ขอบเขตการวิจัย ศึกษาเฉพาะปัจจัยด้านนักเรียนและครอบครัว ข้อตกลงเบื้องต้น ปัจจัยด้านครูและโรงเรียนคงที่ ข้อจากัดของการวิจัย ผลการวิจัยอาจไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง เนื่องจากข้อตกลงเบื้องต้นค่อนข้างอ่อน
- 79. ขอบเขตการวิจัย ศึกษาเฉพาะปัจจัยด้านนักเรียนและ ครอบครัว ข้อตกลงเบื้องต้น ปัจจัยด้านครูและโรงเรียนที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเป็นเหมือนกันทุกโรงเรียน ข้อจากัดของการวิจัย ผลการวิจัยจะใช้ได้บนพื้นฐานของข้อตกลง เบื้องต้นนี้เท่านนั้
- 80. ขอบเขตการวิจัย ศึกษาเฉพาะปัจจัยด้านนักเรียนและครอบครัว และศึกษาจากโรงเรียนเดียว ห้องเรียนเดียว จากครูคนเดียวสอน ข้อตกลงเบื้องต้น ไม่ต้องระบุ ข้อจากัดของการวิจัย ผลการวิจัยอาจไม่สามารถใช้อ้างอิงได้กับสภาพ โรงเรียนหรือลักษณะครูแบบอื่นที่ต่างไปจากที่ ศึกษา
- 81. ข้อบกพร่องที่พบบ่อย ในการเขียนโครงการวิจัย และแนวทางแก้ไข
- 82. ข้อบกพร่องในการศึกษาเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับการวิจัย • ข้อบกพร่องในการสังเคราะห์เอกสาร – การลอกเลียน – การตัดแปะ – ไม่ได้สังเคราะห์
- 83. การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ปัญหา-ข้อบกพร่อง ความทันสมัยของเอกสาร (เก่า ลอกงานอื่น ไม่ค้นใหม่) ประเภทของเอกสารที่อ้างอิง (ไม่ใช้เอกสารวิจัยที่มีความ น่าเชื่อถือมากกว่า) การสังเคราะห์เอกสาร (ตัดแปะ คัดลอกมา) ขั้นตอนที่ดี คือ ต้องอ่าน จับประเด็น จดบันทึกใจความสาคัญ จัดหมวดหมู่ ความคิดให้เป็นระบบ แล้วสรุปความ เหมือนหรือต่าง) งานที่ต้องทา ทาความเข้าใจประเด็นวิจัย ค้นคว้า สังเคราะห์เอกสาร ตรวจสอบผลการสังเคราะห์ จัดลาดับ เชื่อมโยงความคิด พัฒนากรอบแนวคิดการวิจัย
- 84. การเขียนความเป็นมาของปัญหาวิจัย ปัญหาที่พบ การอธิบายหลักการ สาคัญที่ไกลจากปัญหา วิจัย ไม่มีแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่ สาคัญ ไม่สามารถหาเหตุผล อธิบายว่าทาไมต้องศึกษา หลักการสา คัญ ระบุสภาพที่พึงประสงค์ ระบุสภาพที่เกิดขึ้นจริง พร้อมข้อมูลสถิติ และผล วิจัยสนับสนุน ชี้ให้เห็นความต่างระหว่าง สภาพที่พึงประสงค์กับ สภาพที่เกิดขึ้นจริง ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญของ ประเด็นวิจัย
- 85. การกาหนดคาถามวิจัย ปัญหาที่พบ กา หนดในลักษณะของ ข้อความที่รู้คาตอบอยู่แล้ว มี เพียงนักวิจัยที่ยังไม่รู้คาตอบ ลักษณะของคาถามเหล่านี้ สามารถหาคาตอบได้จากตารา ทัว่ไป ไม่ใช่ค้นหาจากการทา วิจัย หลักการสา คัญ เป็นประโยคคาถาม แสดง ให้เห็นถึงส่งิที่นักวิจัย ต้องการค้นหาคาตอบ คาถามวิจัยและประเด็นวิจัย มีความคล้ายคลึงกัน ประเด็นวิจัยอาจกาหนด เป็นประโยคบอกเล่า หรือ เป็นคาถามวิจัยก็ได้ จะทา ให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น
- 86. การเขียนวัตถุประสงค์ของการวิจัย ปัญหาที่พบ ระบุส่งิที่เป็นประโยชน์จาก การวิจัย หรือระบุผล การ วิจัยที่ต้องการอยากรู้หรือ ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไข ให้หมดไป หลักการสาคัญ ระบุกิจกรรมหรือ กระบวนการที่นักวิจัย ต้องกระทาเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ตอบคาถามวิจัย
- 87. ขอบเขตของการวิจัย ปัญหาที่พบ เขียนเป็นสูตรตายตัว เขียนเป็นวิธีดาเนินการวิจัย เหมือนบทที่ 3 หลักการสาคัญ ระบุว่าครอบคลุมตัวแปรอะไรบ้าง ซึ่งควรสอดคล้องกับกรอบความคิด ของการวิจัย ควรระบุเหตุผลที่คัดเลือกตัวแปรบาง ตัวที่นา เข้ามาศึกษาในกรอบความคิด และเหตุผลที่ตัดตัวแปรบางตัวออก จากกรอบความคิด ต้องขยายความให้เห็นแนวคิด เบื้องหลัง เพื่อให้ผู้อ่านรายงานวิจัย เข้าใจวิธีคิดของนักวิจัยได้ชัดเจน
- 88. ขอบเขตของการวิจัย ปัญหาที่พบ เขียนเป็นสูตรตายตัว เขียนเป็น วิธีดาเนินการวิจัย เหมือนบทที่ 3 หลักการสาคัญ ขอบเขตประชากร ต้องอธิบายได้ว่า กลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ครอบคลุมคนกล่มุใด ทาไมจึงจากัดเฉพาะกล่มุน้เีท่านั้น เครื่องมือ ไม่จาเป็นต้องปรากฏในขอบเขต แต่หากจะระบุรายละเอียด น่าจะแสดง รายละเอียดของการกาหนดนิยาม ปฏิบัติการเกี่ยวกับตัวแปร มากกว่าการ อธิบายเกี่ยวกับวิธีการวัดตัวแปร
- 89. ข้อจากัดของการวิจัย แสดงถึงความไม่สมบูรณ์ของการวิจัย ไม่มีข้อจากัด หากออกแบบรัดกุม เกิดขึ้นระหว่าง-หลังจากทาวิจัยเสร็จแล้ว มักไม่ปรากฏในช่วงแรกของการนา เสนอ โครงการวิจัย (proposal) หากนักวิจัยรู้ว่าการวิจัย ของตนเองจะมีข้อจากัดในเรื่องอะไรบ้าง ก็ต้อง หาทางกาจัด ป้องกัน หรือแก้ไขก่อนที่จะเกิดปัญหา นั้น
- 90. ข้อจากัดของการวิจัย (ต่อ) ข้อจากัดที่อนุโลมได้ กล่มุตัวอย่างมีขนาดน้อยกว่าที่ กาหนดหรือเป็นตัวแทนประชากรได้ บางลักษณะ การวัดตัวแปรทาได้ไม่สมบูรณ์ ครบถ้วนตามนิยามที่ควรจะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยไม่เป็นไป ตามที่ควรจะเป็นเน่อืงจากข้อจากัด เรื่องเวลา งบประมาณ หรือการได้รับความ ร่วมมือจากกล่มุตัวอย่าง ทาให้ไม่ สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ตามที่ควรจะ เป็น ข้อจากัดที่ไม่สามารถรับได้ กลุ่มตัวอย่างไม่ตั้งใจให้ ข้อมูล ทาให้ข้อมูลในการ วิจัยไม่ค่อยน่าเชื่อถือ หากระบุข้อจากัดเช่นนี้ เท่ากับว่าผลการวิจัยนั้น เชื่อถือไม่ได้เลยตลอดเล่ม และไม่สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้
- 91. ข้อตกลงเบื้องต้น เป็นส่งิที่ไม่ต้องพิสูจน์ แต่จาเป็นต้องสร้างความ เข้าใจให้ตรงกัน หากออกแบบการวิจัยได้ตามกรอบความคิด อาจไม่ จาเป็นต้องมีข้อตกลงใด ๆ มีลักษณะเฉพาะ ไม่สามารถกาหนดเหมือนกันได้ บ่อยครั้งพบว่านักวิจัยกาหนดข้อตกลงที่ไม่ค่อย จาเป็น
- 92. นิยามคาศัพท์ เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องอธิบายให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกัน ควรเป็นคาสา คัญที่นักวิจัยใช้ในความหมายเฉพาะ สาหรับการวิจัยนั้น หากเป็นคาศัพท์ที่มีความหมายซึ่งเป็นที่เข้าใจตรงกัน และในการวิจัยนั้นก็ไม่ได้มีการใช้ในความหมายอื่นที่ ต่างออกไป ไม่จาเป็นต้องนิยาม
- 93. นิยามคาศัพท์ ปัญหาการเขียนนิยามคาศัพท์ คือ การตัดคาสาคัญ ออกเป็นส่วนๆ เช่น ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนว ความคิดเห็น ทางการพัฒนาคุณธรรม แนวทาง การพัฒนา คุณธรรม = + สาระสาคัญของตัวแปรหายไป ไม่เกิดประโยชน์ต่อการวิจัย ที่ถูกต้องควรให้ความหมายของคาทั้งคา
- 94. ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย นักวิจัยไม่สามารถอธิบายให้เห็นชัดเจนว่าการวิจัย ของตนเองมีประโยชน์อะไรบ้าง ข้อบกพร่องคือ มักเขียนจานวนข้อของประโยชน์ที่ ได้รับตามจานวนข้อของวัตถุประสงค์ของการวิจัย ปัญหาที่พบคือ การคาดหวังสูงหรือมากเกินไปจาก ผลการวิจัยนั้น ๆ
- 95. ขั้นการดาเนินการวิจัย การกา หนดตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ปัญหา : ไม่ระบุลักษณะของประชากร (สา หรับการวิจัยเชิงปริมาณ) มีแต่คา อธิบายเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง ไม่ระบุที่มาของการ กาหนดขนาด จุดเน้นที่ควรตรวจสอบอย่างมาก : ระบุลักษณะประชากร วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ถ้าใช้วิธีวิจัยเชิงทดลอง ควรอธิบายการวางแผนการทดลอง กระบวนการทดลอง การจัดกลุ่มทดลอง ถ้าวิจัยที่ไม่ใช่เชิงทดลอง ตรวจสอบความเป็นตัวแทนประชากร
- 96. การสร้างเครื่องมือ-ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ส่งิที่ต้องระบุในงานวิจัยคือ นิยามตัวแปรที่ต้องการวัด การสร้างเครื่องมือวิจัย การตรวจสอบคุณภาพ หากยืมเครื่องมือจากหน่วยงานอื่นหรือจากนักวิจัยอื่น ต้องแสดงหลักฐานการขออนุญาตการใช้เครื่องมือ กรณีใช้เครื่องมือผู้อื่น- ตรวจสอบคุณภาพซ้า เครื่องมือที่สร้างขึ้น ควรแสดงคาอธิบาย กระบวนการพัฒนาเครื่องมือ และตัวอย่างของ เครื่องมือที่พัฒนาขึ้น
- 97. การสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ข้อบกพร่องที่พบบ่อยในการสร้างเครื่องมือวิจัย ขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือ- ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เน้นตรวจสอบภาษาที่ใช้และความครบถ้วนของสาระ ซึ่งต้อง สอดคล้องกับนิยามของตัวแปรที่มุ่งวัด ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญได้รับคาอธิบายเกี่ยวกับการตรวจสอบ นิยาม ตาราง โครงสร้างเนื้อหา และตารางแสดงว่าข้อคาถามแต่ละข้อมุ่งวัด ตัวแปรใด
- 98. การทาการศึกษานาร่อง จาเป็นในการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย เป็นการศึกษาโดยใช้กลุ่มตัวอย่างจานวนน้อย เพ่อืศึกษาผลที่ได้รับ ความเป็นไปได้ก่อนการ ดาเนินงานจริง มีการวางแผนการออกแบบการศึกษานาร่อง นา ผลการศึกษามาใช้ในการพัฒนาข้อเสนอ โครงการวิจัยให้สามารถปฏิบัติได้จริง
- 99. การรวบรวมข้อมูล ต้องติดตามการดาเนินงานวิจัยอย่างใกล้ชิดทั้งการเก็บ ข้อมูล การจัดกระทาข้อมูล หรือการทดลอง กรณีที่เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ควรกาหนด ตารางการทางานในแต่ละขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูล กา หนดยุทธวิธีที่จะทาให้ได้ปริมาณแบบสอบถามกลับคืน ตามต้องการ
- 100. การวิเคราะห์ข้อมูล มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่กลับมา ก่อนการวิเคราะห์ ถ้าเป็นไปได้ ควรมีการส่มุตรวจสอบการลงรหัสข้อมูล มีหลักฐานการเก็บข้อมูล+ข้อมูลที่ได้กลับคืนมา
- 101. ปัญหาที่พบบ่อยในขั้นของการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติไม่เหมาะสม แปลผลการวิเคราะห์ไม่ได้ นักวิจัยที่ไม่มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล มักใช้วิธีการ จ้างผู้อื่นช่วยวิเคราะห์+แปลผลให้แทน โอกาสในการเลือกใช้สถิติที่ไม่เหมาะสมจะมีมาก เน่อืงจากผู้ที่เป็นเจ้าของงานไม่สามารถแนะนา ให้ ผู้วิเคราะห์ข้อมูลเข้าใจได้
- 102. ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล ทาความเข้าใจประเด็นวิจัยของตนเอง รู้จักธรรมชาติและลักษณะของตัวแปร สามารถวิเคราะห์เป้าหมายของการวิจัย ได้ว่าเป็นการบรรยายสภาพ สารวจ อธิบาย หาความสัมพันธ์ เปรียบเทียบ หรือ ทานาย
- 103. ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) สามารถระบุหรือเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม ให้ความสาคัญกับการเตรียม+ตรวจสอบความสมบูรณ์ข้อมูล เลือกใช้โปรแกรมที่ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสม แปลความหมายผลการวิเคราะห์+ตรวจสอบการเสนอผล
- 104. กิจกรรมทดความคิด
- 105. 1. ระบุสภาพที่พึงประสงค์/ต้องการจะให้เกิด ................................................................................................................................... 2. สภาพที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ................................................................................................................................... 3. ปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งจาเป็นต้องหารทางแก้ไข ................................................................................................................................... 4. ประเด็นที่ควรศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้คา ตอบที่นาไปสู่ความเข้าใจในปัญหา หรือการ วิเคราะห์หารทางแก้ไข ........................................................................................... 5. กรอบความคิดของการวิจัย ................................................................................................................................ 6. ตัวแปรในกรอบความคิดของการวิจัย .................................................................................................................................. 7. แบบการวิจัยที่ควรใช้ในการวิจัย ..................................................................................................................................
- 106. ตัวอย่างหัวข้อเรื่อง • อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของวิทยาลัย การทัพอากาศ: การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ • วิสัยทัศน์ของการศึกษาในวิทยาลัยการทัพ อากาศ: การวิจัยอนาคต • การศึกษาเปรียบเทียบการจัดการศึกษา ระหว่างวิทยาลัย การทัพอากาศและวิทยาลัยการทัพบก • การวิเคราะห์นโยบายการจัดการศึกษาของวิทยาลัย การทัพอากาศ
- 107. • การประเมินและพัฒนาหลักสูตร วิทยาลัย การทัพอากาศ • การศึกษาสภาพ ปัญหา และแนวทางการ พัฒนาการทา เอกสารวิจัยของนายทหาร นักศึกษาวิทยาลัยการทัพ อากาศ • การศึกษาสภาพ และปัญหาในการบริหารหลักสูตรของ วิทยาลัยการทัพอากาศ • การสังเคราะห์เอกสารวิจัยของนายทหาร นักศึกษา วิทยาลัยการทัพอากาศ
- 108. • การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนายทหาร นักศึกษาที่มียศ และอายุต่างกัน • การวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ต่างประเทศ ของนักศึกษาของวิทยาลัยการทัพอากาศ • การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพของนายทหาร นักศึกษาวิทยาลัยการทัพอากาศ • ประสิทธิภาพของการให้คาปรึกษาในการทาเอกสาร วิจัยของนายทหารนักศึกษา
- 109. • การศึกษาความต้องการในการศึกษาต่อ และความ ก้าวหน้าของนายทหารสัญญาบัตร • สภาพปัจจุบันและปัญหาในการคัดเลือกนายทหาร เข้าศึกษาในโรงเรียนเสนาธิการทหา • พฤติกรรมการเรียนของนายทหารนักศึกษา • ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปรับตัวของ นายทหารนักศึกษา • สภาพและปัญหาเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ของ นายทหารนักศึกษา
- 110. • การติดตามควบคุม กากับ และประเมินผล ตามนโยบาย การจัดการศึกษา กองทัพอากาศ • การเปรียบเทียบวิธีการตัดสินใจสั่งการของผู้บังคับบัญชา ที่ผ่านและไม่ผ่านการศึกษาจากวิทยาลัยการทัพอากาศ • การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทที่คาดหวังกับบทบาทที่ ปฏิบัติจริงของอาจารย์ตามการรับรู้ของนายทหาร นักศึกษา • ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะผู้นา การปรับตัว และ เจตคติของนายทหารนักศึกษา
- 111. • การวิจัยและพัฒนาระบบการบริหารภายใน ของ …… • การศึกษาผลของ ……… ที่มีต่อ …….. • การเปรียบเทียบคุณภาพของ …….. ระหว่างการใช้ ……….. กับ ………..
อ้างอิง
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น